|
ME100 Engineering Graphics |
|
คำอธิบายรายวิชา
ความสำคัญของการเขียนแบบ เครื่องมือเขียนแบบ การเขียนเส้นและการเขียนตัวหนังสือ การเตรียมงานเขียนแบบ เรขาคณิตวิเคราะห์ การให้ขนาดและคำอธิบายรายละเอียด การเขียนแบบภาพฉาย การเขียนแบบภาพสามมิติ การเขียนภาพด้วยมือเปล่า การเขียนแบบภาพตัด การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทางเรขาคณิตผ่านการเขียนแบบ โดยผู้เรียนจะต้องสามารถทำความเข้าใจแบบทางวิศวกรรมและสามารถเขียนแบบ ทั้งด้วยมือเปล่า ด้วยเครื่องมือเขียนแบบและด้วยคอมพิวเตอร์
Week |
|
Powerpoint |
VDO |
1 |
คำนำ กระดาษเขียนแบบ เครื่องเขียนแบบ การเขียนเส้นและตัวหนังสือมาตราส่วน |
|
|
2 |
การเขียนแบบรูปร่างเรขาคณิต |
|
|
3 |
การให้ขนาด |
|
|
4 |
การเขียนแบบภาพฉาย ภาพฉายแบบมุมที่หนึ่ง และภาพฉายแบบมุมที่สาม |
|
|
5 |
การเขียนแบบสามมิติ การเขียนแบบแกนสมมาตร การเขียนแบบมุมเฉียง |
|
|
6 |
การเขียนภาพด้วยมือเปล่า และทักษะการมองภาพ |
|
|
7 |
การเขียนภาพตัด |
|
|
8 |
การเขียนแบบรายละเอียดและการเขียนแบบงาน พิกัดเผื่อ |
|
|
9 |
AutoCAD : Intro / Draw |
|
|
10 |
AutoCAD : Modify / Layer / Dimension |
|
|
11 |
AutoCAD : Modify / Layer / Dimension |
|
|
12 |
AutoCAD : การเขียนแบบภาพฉาย |
|
|
13 |
AutoCAD : การเขียนแบบสามมิติ |
|
|
14 |
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณหาพื้นที่รูปเรขาคณิต
การแนะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์อื่นๆ สำหรับช่วยงานเขียนแบบ |
|
|
เอกสารอ้างอิง
พินัย ทองสวัสดิ์วงศ์ และ สมศักดิ์ วงษ์ประดับไชย เอกสารคำสอน วิชากราฟิกวิศวกรรม
F. E. Giesecke et. al. Engineering Graphics, 7th edition, Prentice Hall, 2000.
A. W. Boundy. Engineering Drawing, 6th
edition, McGraw Hill, 2002.
***เฉพาะเทอม2/2563 (เรียนออนไลน์)***
การให้คะแนน
ปฏิบัติการและการบ้าน 40 คะแนน
สอบกลางภาค 30 คะแนน
สอบปลายภาค 30 คะแนน
|